วันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2561

การแพทย์ สุขภาพ

Pain Descriptors การบ่งชี้ถึงอาการปวด
acute pain ปวดเฉียบพลัน
chronic pain ปวดเรื้อรัง
burning pain ปวดแสบปวดร้อน
constant pain ปวดตลอดเวลา
cramps, cramping pain ปวดเกร็ง ปวดแบบเป็นตะคริว
crushing pain ปวดแบบบีบรัด
cutting pain ปวดเหมือนถูกของมีคมบาด
dull pain ปวดตื้อ ๆ
electrical pain ปวดเเหมือนไฟชอร์ต
gnawing pain ปวดเหมือนถูกแทะ
intermittent pain ปวดแบบเป็นๆหายๆ
numbing pain ปวดร่วมกับอาการชา
pins and needles sensation ความรู้สึกเหมือนมีอะไรมาทิ่มแทง
periodic pain ปวดเป็นพักๆ
pulsating pain ปวดตามจังหวะชีพจร
radiating pain, radicular pain
ปวดบริเวณผิวหนังที่เส้นประสาทมาเลี้ยง ปวดแบบเริ่มจากจุดศูนย์กลางแล้วแผ่ออกไป
sharp pain ปวดแปล๊บ ปวดจี๊ดจิ๊ด
shifting pain ปวดที่หนึ่งแล้วย้ายไปปวดอีกที่หนึ่ง
shooting pain ปวดแบบเจ็บเสียวแปลบร้าว
tingling sensation ความรู้สึกเหมือนมีอะไรไต่หรือโดนกัดต่อย
throbbing pain ปวดตุบๆ
muscle spasm กล้ามเนื้อหดเกร็ง
stabbing pain เจ็บแบบเสียดแทง
visceral pain ความเจ็บปวดในบริเวณกว้าง
ปัจจุบันนี้ แพทย์คนเดียวมักจะไม่รักษาคนไข้ทุกขั้นตอน
มักจะส่งคนไข้ไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจหรือเพื่อขอความคิดเห็นเพื่อช่
วยในการรักษา นี่เป็นรายการของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ
ที่ผู้เขียนได้รวบรวมไว้ข้างล่างนี้
Medical Specialists ผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์สาขาต่างๆ
allergist, immunologist หมอโรคภูมิแพ้
anesthesiologist, anesthetist วิสัญญีแพทย์ หมอยาสลบ
cardiologist หมอโรคหัวใจ
dermatologist หมอโรคผิวหนัง
emergency care specialist แพทย์ชำนาญทางกรณีฉุกเฉิน
gastroenterologist หมอโรคทางเดินอาหาร
แพทย์ระบบทางเดินอาหาร
geriatrist, geriatrician แพทย์คนชรา|หมอคนแก่
hematologist นักโลหิตวิทยา
hospitalist แพทย์ที่รักษาเฉพาะคนไข้ในโรงพยาบาล
infectious disease specialist แพทย์ทางโรคติดต่อ
intensivist แพทย์รักษาคนไข้เฉพาะในไอซียู
internist, internal medicine physician หมออายุรกรรม
อายุรแพทย์
neurologist หมอทางประสาทวิทยา
neurosurgeon หมอรักษาโรคทางสมอง,
ศัลยแพทย์สมองและเส้นประสาท
obstetrician สูติแพทย์ หมอสู หมอสูติ
obstetrician and gynecologist, OB-GYN, OBGYN
สูตินารีแพทย์
gynecologist นรีแพทย์
neonatologist แพทย์เฉพาะเด็กแรกคลอด
nephrologist แพทย์ทางโรคไต หมอไต
nurse-midwife พยาบาลผดุงครรภ์
midwife หมอตำแย
occupational medicine physician
หมอรักษาโรคหรือการบาดเจ็บจากการทำงาน
oncologist แพทย์เฉพาะมะเร็ง หมอโรคมะเร็ง
ophthalmologist จักษุแพทย์, หมอตา
odontologist หมอที่เชี่ยวชาญด้านโครงสร้างฟั
oral and maxillofacial surgeon หมอศัลยกรรมช่องปาก
orthopedist|orthopaedist แพทย์โรคกระดูก หมอกระดูก
otolaryngologist โสตศอนาสิกแพทย์ หมอหูคอจมูก
pathologist พยาธิแพทย์
pediatrician กุมารแพทย์ หมอเด็ก
plastic surgeon ศัลยแพทย์ตกแต่ง หมอศัลย์
podiatrist หมอเท้า
psychiatrist จิตแพทย์
pulmonologist, pulmonary medicine physician
แพทย์ทางระบบหายใจ
radiotherapist, radiation onconlogist รังสีแพทย์ทางมะเร็ง
radiologist รังสีแพทย์
rheumatologist แพทย์ทางโรคข้อ
urologist ศัลยแพทย์ทางระบบปัสสาวะ
surgeon ศัลยแพทย์ หมอผ่าตัด
cardiac surgeon ศัลยแพทย์หัวใจ
colon and rectal surgeon, colorectal surgeon
ศัลยแพทย์ลำไส้ใหญ่และทวารหนัก
general surgeon ศัลยแพทย์ทั่วไป
hand surgeon ศัลยแพทย์มือ
oral surgeon ศัลยแพทย์ช่องปาก
pediatric surgeon ศัลยแพทย์เด็ก
plastic and reconstructive surgeon ศัลยแพทย์ตบแต่ง
thoracic surgeon ศัลยแพทย์ช่องอก
trauma surgeon ศัลยแพทย์ผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
vascular surgeon ศัลยแพทย์เส้นเลือด
assistant surgeon ผู้ช่วยศัลยแพทย์
Dental Specialists ผู้เชี่ยวชาญด้านทันตกรรม
endodontist ทันตแพทย์เฉพาะทางด้านการรักษารากฟัน
oral surgeon ทันตแพทย์ศัลยกรรมช่องปาก
orthodontist ทันตแพทย์จัดฟัน
pediadontist ทันตกรรมเด็ก
periodontist ทันตแพทย์ปริทันต์ หมอฟันเฉพาะทางรักษาโรคเหงือก
Medical Conditions ภาวะด้านการแพทย์
คำศัพท์ที่มักใช้สับสนกันหรือใช้แทนกันคือคำว่า
โรค (disease) อาการ (symptom) และ ภาวะ (condition)
แต่ทั้งสามอย่างก็คืออาการที่ทำให้เราไม่สบายกายนั่นเอง
Abdominal Problems ปัญหาเกี่ยวกับช่องท้อง
appendicitis ไส้ติ่งอักเสบ
constipation ท้องผูก
dehydration ภาวะที่ร่างกายขาดน้ำ
diarrhea ท้องเสีย การถ่ายอุจจาระเหลว
food poisoning อาหารเป็นพิษ
heartburn อาการแสบร้อนกลางอก
acid reflux กรดไหลย้อน
irritable bowel syndrome (IBS) ลำไส้แปรปรวน
nausea คลื่นไส้
stomach flu หวัดลงกระเพาะ
ulcer แผลเปื่อย, แผลพุพอง
gastric ulcer (GU), Peptic Ulcer (PU)
แผลที่กระเพาะอาหาร
urinary incontinence ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
Bone, Muscle and Joint Problems ปัญหาเรื่องกระดูก
กล้ามเนื้อและข้อต่อ
arthritis ข้ออักเสบ
bunions นิ้วหัวแม่เท้าผิดรูป
bursitis เบาน้ำอักเสบ
carpal tunnel syndrome (CTS)
โรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ
hammertoes นิ้วเท้าหงิกงอผิดปกติ ข้อยึด
muscle cramps ตะคริว
osteoporosis โรคกระดูกพรุน
sports injuries การบาดเจ็บทางการกีฬา
strains กล้ามเนื้อฉีก
sprains อาการเคล็ด
sprain and dislocation ข้อเคล็ดและข้อเคลื่อน
tendonitis เอ็นอักเสบ
Cardiac Circulatory Problems
ปัญหาวงจรการทำงานของหัวใจ
arrhythmia หัวใจเต้นผิดจังหวะ
congestive heart failure หัวใจเลือดคั่ง
heart failure หัวใจล้มเหลว หัวใจวาย
sudden cardiac arrest ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน
acute myocardial infarction กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
coronary artery disease โรคหลอดเลือดไปเลี้ยงหัวใจตีบ
hypertension ความดันโลหิตสูง high blood pressure
varicose veins เส้นเลือดขอด
Chest and Respiratory Problems
ปัญหาเรื่องระบบทางเดินหายใจ
allergies อาการแพ้
asthma โรคหอบหืด
bacterial infection โรคติดเชื้อแบคทีเรีย
bronchitis หลอดลมอักเสบ
cold ไข้หวัด
influenza ไข้หวัดใหญ่
laryngitis กล่องเสียงอักเสบ
pneumonia ปอดบวม
sinusitis ไซนัสอักเสบ
strep throat คออักเสบ
swollen glands
tonsillitis ต่อมทอนซิลอักเสบ
Digestive Problems ปัญหาด้านระบบย่อยอาหาร
cirrhosis ตับแข็ง
colitis ลำไส้ใหญ่อักเสบ
gallstones นิ่วในถุงน้ำดี
hemorrhoids ริดสีดวงทวาร
hepatitis ตับอักเสบ
hernia ไส้เลื่อน
jaundice ดีซ่าน
polyps ติ่งเนื้อ
Endocrine Problems ปัญหาของระบบต่อมไร้ท่อ
diabetes เบาหวาน
goiter คอพอก
hyperthyroidism ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
ภาวะที่ต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมนออกมามากกว่าปกติ
Eye and Ear Problems ปัญหาเรื่องตาและหู

discharge, crusty gunk ขี้ตา

conjunctivitis เยื่อบุตาอักเสบ
ear infection หูติดเชื้อ
earwax ขี้หู
sties, sty กุ้งยิง
swimmer’s ear น้ำเข้าหู
tinnitus หูอื้อ หรือเสียงในหู
vertigo เวียนศีรษะบ้านหมุน
ที่อเมริกา คนมักถามเอ๋ในฐานะล่ามว่าทำไมแปลคำว่า department ว่า "กระทรวง" ทำไมไม่แปลว่า "กรม"
คำตอบคือ อเมริกาเป็นประเทศที่ไม่ใช้ระบบ ministry แบบไทยหรืออังกฤษ ระดับ department ของเขาเทียบเท่ากับ ระดับกระทรวงบ้านเรา เขาไม่มีกรม มีแต่แผนกหรือสำนักงาน ให้เลือกคำแปลโดยการเทียบเอาว่าจะตรงกับส่วนราชการไหนของไทย ถ้าไม่มีก็แปลให้ใกล้เคียง เช่น IRS (Internal Revenue Service) = กรมสรรพากร เป็นต้น มีที่เขาแปลเอาไว้แล้ว ค้นหาดู แล้วเอาไปใช้ได้เลย
และในกรณีนี้คำว่า secretary ไม่ได้แปลว่าเลขา หรือ เลขาธิการ นะ ต้องแปลว่า รัฐมนตรี
State Department หรือ Department of State คือกระทรวงการต่างประเทศ ไม่ใช่ "แผนกของรัฐ" อันนี้คนอเมริกาบางคนยังไม่รู้ เอ๋บอกว่า "I work for the Department of State." คนอเมริกาบางคนยังเคยถามว่า "Which state?"
ส่วนคำว่า Secretary of State ในระดับเฟดเดอรัล (รัฐบาลกลาง) ต้องแปลว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ไม่ใช่ เลขาธิการของรัฐ (แต่ในระดับรัฐ แปลตามนั้นได้)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น